ชนตา วิมุกติ เปรมุณะ
แนวหน้าปลดแอกประชาชน ජනතා විමුක්ති පෙරමුණ மக்கள் விடுதலை முன்னணி | |
---|---|
ชื่อย่อ | PLF (English) ජවිපෙ (JVP) (สิงหล) |
ผู้ก่อตั้ง | โรหนะ วิชชวีระ |
หัวหน้า | อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ |
เลขาธิการ | ติลวิน ซิลวา |
ก่อตั้ง | 14 พฤษภาคม 1965 |
แยกจาก | พรรคคอมมิวนิสต์ซีลอน-ปักกิ่ง |
ก่อนหน้า | ขบวนการซ้ายใหม่ |
ที่ทำการ | พัฏฏรมุฬฬะ ประเทศศรีลังกา |
หนังสือพิมพ์ |
|
ฝ่ายนักเรียนนักศึกษา | สหภาพนักศึกษาสังคมนิยม |
ฝ่ายเยาวชน | สหภาพเยาวชนสังคมนิยม |
ฝ่ายสตรี | สหภาพสตรีสังคมนิยม |
สมาชิกภาพ (ปี 1983) | 200,000–300,000[1] |
อุดมการณ์ | คอมมิวนิสต์[2][3] มาร์กซิสต์-เลนนินนิสต์[2][3] ชาตินิยมฝ่ายซ้าย[4] ต่อต้านลัทธิรีวิชั่นนิสต์[5][ต้องการการอัปเดต?] ต่อต้านลัทธิอาณานิคม หัวก้าวหน้า[5] ชาตินิยมสิงหล[6][7][8] |
จุดยืน | ซ้าย ถึง ซ้ายจัด |
กลุ่มระดับชาติ | พรรคพลังประชาชนแห่งชาติ[9] |
กลุ่มระดับสากล | IMCWP (เดิม) ICS (ยกเลิก) |
สี | |
เพลง | අන්තර්ජාතිකය (สิงหล) சர்வதேசம் (ทมิฬ) "อันตรรชาติกะยะ"[10] |
รัฐสภาศรีลังกา | 3 / 225 |
สภาจังหวัดศรีลังกา | 15 / 455 |
รัฐบาลท้องถิ่น | 436 / 8,356 |
เว็บไซต์ | |
jvpsrilanka | |
สัญลักษณ์การเลือกตั้ง | |
กระดิ่ง ไฟล์:JVP election symbol.png | |
ธงประจำพรรค | |
การเมืองศรีลังกา รายชื่อพรรคการเมือง การเลือกตั้ง |
ชนตา วิมุกติ เปรมุณะ (สิงหล: ජනතා විමුක්ති පෙරමුණ, อักษรโรมัน: Janatā Vimukti Peramuṇa; JVP,ชะนะตา วิมุกติ เประมุณะ) หรือ มักกัฬ วิฏุตะไล มุนนณิ (ทมิฬ: மக்கள் விடுதலை முன்னணி, อักษรโรมัน: Makkaḷ Viṭutalai Muṉṉaṇi) หรือ แนวหน้าปลดแอกประชาชน (อังกฤษ: People's Liberation Front; PLF) เป็นพรรคการเมืองในประเทศศรีลังกา[11] แรกเริ่มเป็นขบวนการปฏิวัติที่มีส่วนร่วมในการก่อการกำเริบติดอาวุธต่อต้านรัฐบาลศรีลังกาสองครั้งในปี 1971 (SLFP) และในปี 1987–89 (UNP) โดยมีเป้าหมายในการก่อการกำเริบทั้งสองครั้งเพื่อสถาปนารัฐสังคมนิยม[12] นับจากนั้นมา JVP ได้เข้าร่วมเป็นพรรคการเมืองประชาธิปไตยกระแสหลักและปรับอุดมการณ์บางส่วน รวมถึงทิ้งนโยบายมาร์กซิสต์ดั้งเดิม เช่น นโยบายยกเลิกการถือครองทรัพย์สินส่วนบุคคล[13]
นับตั้งแต่ปี 2019 พรรค JVP ได้ลงแข่งในการเลือกตั้งหลายสนามภายใต้พันธมิตรฝ่ายซ้ายกับพรรคพลังประชาชนแห่งชาติ (NPP) และนับจากนั้นมาได้กลายมาเป็นพรรคการเมืองใหญ่ในการเมืองศรีลังกา[14][15] ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปี 2024 หัวหน้าพรรค อนุระ กุมาระ ทิสานายกะ ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีศรีลังกา[16]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Bennet, Owen. The Patriotic Struggle of the JVP: A Reappraisal. pp. 43–44.
- ↑ 2.0 2.1 "Sri Lanka's Marxist party to make official visit to India". The Times of India. 2024-02-04. ISSN 0971-8257. สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
- ↑ 3.0 3.1 "In Sri Lanka, India embraces a resurgent old foe to keep China at bay". South China Morning Post (ภาษาอังกฤษ). 2024-02-12. สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
- ↑ Balachandran, P. K. (2015-01-20). "JVP Demands Arrest, Trial of LTTE's 'KP'". The New Indian Express (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2024-09-23.
- ↑ 5.0 5.1 History of the JVP, 1965–1994.
- ↑ Whetstone, Crystal; Luna K. C. (April 2023). "Disrupting the Saviour Politics in the Women, Peace and Security Agenda in the Global South: Grassroots Women Creating Gender Norms in Nepal and Sri Lanka". Journal of Asian Security and International Affairs (ภาษาอังกฤษ). 10 (1): 95–121. doi:10.1177/23477970231152027. ISSN 2347-7970.
- ↑ DeVotta, Neil (2010). Brass, Paul (บ.ก.). Routledge handbook of South Asian politics. Abingdon: Routledge. pp. 124–125.
- ↑ Venugopal 2010, pp. 567–602.
- ↑ "2020 results".
- ↑ "The Internationale in 82 languages". Anti War Songs. Retrieved 31 August 2021.
- ↑ "List of recognized political parties" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-12-26.
- ↑ People's Liberation Front. Britannica
- ↑ "JVP clarifies policy on abolishing private property ownership". Citizen.lk News Agency. สืบค้นเมื่อ 22 September 2024.
- ↑ "Parliamentary General Election – 1994" (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 6 October 2010.
- ↑ CIA: The World Factbook, 1991. p. 292.
- ↑ "Anura Kumara Dissanayake elected President of Sri Lanka". www.adaderana.lk (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 23 September 2024. สืบค้นเมื่อ 2024-09-22.