ข้ามไปเนื้อหา

แนฟทาลีน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
(ต่าง) ←รุ่นเก่ากว่านี้ | รุ่นแก้ไขล่าสุด (ต่าง) | รุ่นที่ใหม่กว่า → (ต่าง)
แนฟทาลีน
ทั่วไป
ชื่อเคมี แนฟทาลีน
ชื่ออื่นๆ ลูกเหม็น
สูตรโมเลกุล C10H8
โครงสร้างแบบเส้นอย่างง่าย C1 (C = CC=C2) =C2C=CC=C1
น้ำหนักโมเลกุล 128.17 g/mol
ลักษณะทั่วไป เป็นของแข็งสีขาว
เลขทะเบียน CAS 91-20-3
คุณสมบัติ
ความหนาแน่น 1.14 g/cm3
การละลายในน้ำ ไม่ละลายน้ำ
จุดหลอมเหลว 80.6 °C
จุดเดือด 218 °C
ความเป็นอันตราย
MSDS External MSDS
อันตรายทั่วไป ติดไฟได้ ว่องไวใน
การเกิดปฏิกิริยา
เป็นสารก่อมะเร็ง
NFPA 704
Flash point 79 - 87 °C
Autoignition temperature 525 °C
R/S statement R: 20, 21, 22, 36, 37, 38, 43, 45
S: 16, 26, 36, 37, 39, 45
RTECS number QJ0525000
Except where noted otherwise, data are given for
materials in their standard state (at 25 °C, 100 kPa)
Infobox disclaimer and references

แนฟทาลีน, หรือnaphthalinหรือ bicyclo[4.4.0]deca-1,3,5,7,9-pentene หรือ antimite แต่เป็นสารคนละชนิดกับแนปทา (naphtha),เป็นสารที่เป็นผลึก มีกลิ่น สีขาว เป็นไฮโดรคาร์บอนที่เป็นของแข็ง สูตรโมเลกุลเป็นC10H8 โครงสร้างประกอบด้วยวงเบนซีนสองวงเชื่อมต่อกัน เป็นส่วนประกอบของลูกเหม็นใช้กันมากในการดับกลิ่น ระเหิดได้ที่อุณหภูมิห้อง เกิดเป็นไอที่ติดไฟ ตรวจพบความเข้มข้นต่ำสุดในอากาศเป็น 0.08 ppt.[1]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Amoore J E and Hautala E (1983). "Odor as an aid to chemical safety: Odor thresholds compared with threshold limit values and volatiles for 214 industrial chemicals in air and water dilution". J Appl Toxicology. 3 (6): 272–290. doi:10.1002/jat.2550030603.