ข้ามไปเนื้อหา

การระบาดทั่วของโควิด-19 ในประเทศลาว

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศลาว พ.ศ. 2563
แผนที่แขวงที่มีผู้ติดเชื้อ (ณ วันที่ 5 ธันวาคม):
  ผู้ติดเชื้อ 1–9 คน
  ผู้ติดเชื้อ 10–99 คน
  ผู้ติดเชื้อ 100-999 คน
  ผู้ติดเชื้อ 1,000-9,999 คน
  ผู้ติดเชื้อมากกว่า 10,000 คน
โรคโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019
สถานที่ประเทศลาว
การระบาดครั้งแรกอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน
ผู้ป่วยต้นปัญหาเวียงจันทน์
วันแรกมาถึง24 มีนาคม พ.ศ. 2563
(4 ปี 9 เดือน 13 วัน)
ผู้ป่วยยืนยันสะสม84,053 คน
หาย7,339 คน
เสียชีวิต224 คน

การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนา พ.ศ. 2562–2563 ได้รับการยืนยันว่าเริ่มต้นขึ้นที่ประเทศลาวเมื่อวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2563

ภูมิหลัง

[แก้]

เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563 องค์การอนามัยโลก (WHO) ยืนยันว่าไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่เป็นสาเหตุของการเจ็บป่วยทางเดินหายใจในกลุ่มคนในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ประเทศจีน ซึ่งรายงานต่อองค์การอนามัยโลกในวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2562[1][2]

อัตราป่วยตายของผู้ป่วยสำหรับโควิด-19 นั้นต่ำกว่าโรคซาร์ส พ.ศ. 2546 มาก[3][4] แต่การแพร่เชื้อมีความหมายมากกว่า ด้วยจำนวนผู้เสียชีวิตที่มีนัยสำคัญ[3][5]

เส้นเวลา

[แก้]

มีนาคม

[แก้]

เมื่อวันที่ 24 มีนาคม ทางการลาวยืนยันพบผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นกรณีแรก เป็นจำนวนสองราย แบ่งเป็นชายอายุ 28 ปี และหญิงอายุ 36 ปี[6] ถือว่าเป็นประเทศสุดท้ายในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่พบผู้ติดเชื้อเป็นจากโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 [7][8]

วันที่ 26 มีนาคม เวียงจันทน์ไทมส์ หนังสือพิมพ์รายวันประเทศลาว ได้ยืนยันว่าพบผู้ติดเชื้อเป็นรายที่สาม[9] และยังกล่าวต่ออีกว่าทางการจีนได้ส่งอุปกรณ์ทางการแพทย์เข้าช่วยเหลือ เพื่อสู้กับโรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019[10] ลาวโพสต์ ได้รายงานว่า สถานที่ราชการในประเทศลาว มีการควบคุมอย่างเข้มงวด มีเจ้าหน้าที่ตรวจวัดอุณหภูมิทุกสถานที่ โดยในสังคมออนไลน์ได้มีการเชิญชวนให้แฮชแท็กว่า #ฮักคอบคัวให้อยู่แต่เฮือน (รักครอบครัวให้อยู่แต่บ้าน)[11]

วันที่ 27 มีนาคม มีผู้ติดเชื้อรวม 3 ราย ซึ่งมีชายสองรายมาจากหลวงพระบาง และอีกหนึ่งมาจากเวียงจันทน์[12] ในวันเดียวกัน ทางการเวียดนามได้มอบเงินให่ 1 แสนดอลลาร์สหรัฐ และเตรียมพร้อมแพทย์ 60,000 รายพร้อมเข้าช่วยเหลือ[13]

สถิติ

[แก้]
รายละเอียดของจำนวนผู้ป่วยยืนยันติดเชื้อในประเทศลาว
กรณีที่ วันที่ อายุ เพศ สัญชาติ สถานที่พบ สถานบำบัด ประวัติไปต่างประเทศ สถานะ หมายเหตุ ที่มา
1 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 36 หญิง ธงของประเทศลาว ลาว เวียงจันทน์ ไม่มี ปล่อยตัว กระทำอาชีพผู้นำเที่ยว
2 24 มีนาคม พ.ศ. 2563 26 ชาย เวียงจันทน์  ไทย
3 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 26 ชาย เวียงจันทน์ ทวีปยุโรป ติดร่วมกับกรณีที่สอง
4 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 42 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่หนึ่ง
5 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 42 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่หนึ่ง
6 26 มีนาคม พ.ศ. 2563 41 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่สาม
7 28 มีนาคม พ.ศ. 2563 18 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่สาม
8 28 มีนาคม พ.ศ. 2563 50 หญิง เวียงจันทน์ ไม่มี
9 29 มีนาคม พ.ศ. 2563 22 หญิง เวียงจันทน์  ไทย อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานคร
10 25 มีนาคม พ.ศ. 2563 21 หญิง เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่แปด
11 5 เมษายน พ.ศ. 2563 55 ชาย ธงของประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี เวียงจันทน์ ธงของประเทศปาปัวนิวกินี ปาปัวนิวกินี กระทำอาชีพพนักงานบริษัทเหมืองแร่
12 6 เมษายน พ.ศ. 2563 20 หญิง ธงของประเทศลาว ลาว เวียงจันทน์ ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร ติดร่วมกับกรณีที่สิบเอ็ดในเที่ยวบินระหว่างประเทศจากกรุงเทพมหานครสู่เวียงจันทน์
13 7 เมษายน พ.ศ. 2563 40 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่สิบเอ็ด
14 7 เมษายน พ.ศ. 2563 19 หญิง เวียงจันทน์ ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร
15 8 เมษายน พ.ศ. 2563 20 หญิง เวียงจันทน์ ธงของสหราชอาณาจักร สหราชอาณาจักร ติดร่วมกับกรณีที่สิบสอง ซึ่งเป็นเที่ยวบินเดียวกับกรณีที่สิบเอ็ดและกรณีที่สิบสอง
16 10 เมษายน พ.ศ. 2563 23 หญิง เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่สิบ
17 11 เมษายน พ.ศ. 2563 32 หญิง เวียงจันทน์ ไม่มี ติดร่วมกับกรณีที่สิบหก
18 11 เมษายน พ.ศ. 2563 32 หญิง เวียงจันทน์ ไม่มี
19 12 เมษายน พ.ศ. 2563 21 ชาย เวียงจันทน์ ไม่มี

อ้างอิง

[แก้]
  1. Elsevier. "Novel Coronavirus Information Center". Elsevier Connect. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 January 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  2. Reynolds, Matt (4 March 2020). "What is coronavirus and how close is it to becoming a pandemic?". Wired UK. ISSN 1357-0978. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 5 March 2020. สืบค้นเมื่อ 5 March 2020.
  3. 3.0 3.1 "Crunching the numbers for coronavirus". Imperial News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 19 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  4. "High consequence infectious diseases (HCID); Guidance and information about high consequence infectious diseases and their management in England". GOV.UK (ภาษาอังกฤษ). เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 March 2020. สืบค้นเมื่อ 17 March 2020.
  5. "World Federation Of Societies of Anaesthesiologists – Coronavirus". www.wfsahq.org. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 12 March 2020. สืบค้นเมื่อ 15 March 2020.
  6. "ทางการลาวยืนยัน พบผู้ป่วยโควิดรายแรกพร้อมกัน 2 คน". 24 มีนาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2020.
  7. "Laos records first two coronavirus cases - Thai Media". 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
  8. "Laos Confirms First Covid-19 Cases". 24 March 2020. สืบค้นเมื่อ 24 March 2020.
  9. "Laos confirms third Covid-19 case". 26 March 2020. สืบค้นเมื่อ 26 March 2020.
  10. "China Sends Medical Experts to Help Laos Fight COVID-19". 26 March 2020. สืบค้นเมื่อ 26 March 2020.
  11. "'ลาว' เจอถี่! ติด 'โควิด' เพิ่ม 3 ชวนติดแฮชแท็ก #ฮักคอบคัวให้อยู่แต่เฮือน". 26 มีนาคม 2020. สืบค้นเมื่อ 26 มีนาคม 2020.
  12. "Three More Covid-19 Cases Confirmed in Laos, Total Now at 6". 27 March 2020. สืบค้นเมื่อ 27 March 2020.
  13. https://vietnaminsider.vn/vietnam-to-provide-laos-and-cambodia-with-medical-equipment-worth-100000-each/