พระมหากษัตริย์แคนาดา
พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา | |
---|---|
King of Canada (อังกฤษ) Roi du Canada (ฝรั่งเศส) | |
สหพันธรัฐ | |
อยู่ในราชสมบัติ | |
สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ตั้งแต่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022 | |
รายละเอียด | |
พระราชอิสริยยศ | สมเด็จพระราชาธิบดี |
รัชทายาท | เจ้าชายวิลเลียม เจ้าชายแห่งเวลส์[1] |
กษัตริย์องค์แรก | สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 (ในฐานะพระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา) |
สถาปนาเมื่อ | 11 ธันวาคม ค.ศ. 1931 |
ที่ประทับ | ริโด ฮอลล์ ออตตาวา ลา ซิตาแดล นครเกแบ็ก |
เว็บไซต์ | Monarchy and the Crown |
พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา เป็นศูนย์กลางของโครงสร้างสหพันธ์ของประเทศแคนาดาตามรัฐธรรมนูญและระบอบประชาธิปไตยระบบรัฐสภาตามแบบเวสต์มินสเตอร์[6] สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นรากฐานแห่งฝ่ายบริหาร (สภาองคมนตรีแห่งพระมหากษัตริย์) ฝ่ายนิติบัญญัติ (รัฐสภาแห่งพระราชาธิบดิ) และฝ่ายตุลาการ (พระราชาธิบดิบนบัลลังก์) ของทั้งเขตอำนาจในสหพันธ์และในระดับรัฐ[10] พระมหากษัตริย์แห่งแคนาดา (และประมุขแห่งรัฐ) พระองค์ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระเจ้าชาลส์ที่ 3 ตั้งแต่วันที่ 8 กันยายน ค.ศ. 2022[11][12][17] พระอิสริยยศเต็มของพระมหากษัตริย์แคนาดา คือ "ด้วยพระคุณแห่งพระเจ้าแห่งสหราชอาณาจักร แคนาดา อาณาจักรและดินแดนของพระราชาธินดิ ประมุขแห่งเครือจักรภพแห่งประชาชาติ ผู้เป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก"
ถึงแม้ว่าผู้ดำรงตำแหน่งพระมหากษัตริย์แห่งแคนาดานั้นใช้ร่วมกับอีก 15 ประเทศราชอาณาจักรภายในเครือจักรภพแห่งประชาชาติ ในแต่ละประเทศนั้นสถาบันพระมหากษัตริย์ของแต่ละประเทศนั้นแยกออกจากกันตามกฎหมาย[18][19][20][21][22] ดังนั้น พระมหากษัตริย์พระองค์ปัจจุบันนั้นมีพระอิสสิรยยศเป็น "สมเด็จพระราชาธิบดิแห่งแคนาดา" และจึงทำให้พระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ในพระราชวงศ์แคนาดามีบทบาทหน้าที่สาธารณะทั้งภายในประเทศและต่างประเทศในฐานะประมุขแห่งแคนาดา อย่างไรก็ตามมีเพียงสมเด็จพระราชาธิบดิเท่านั้นที่ทรงมีบทบาทตามบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ถึงแม้ว่าพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ส่วนมากจะสงวนไว้แค่เรื่องพิธีการ (อาทิเช่น การเรียกประชุมสภาสามัญชน และการแต่งตั้งเอกอัครข้าราชทูต เป็นต้น) มีผู้สำเร็จราชการเป็นผู้ใช้พระราชอำนาจแทนพระองค์[26] ในรัฐต่างๆ ของแคนาดา ล้วนมีพระมหาษัตริย์เป็นของตนเช่นกันโดยมีผู้แทนพระองค์ คือ รองผู้สำเร็จราชการ (lieutenant governor) ส่วนในดินแดนต่างๆ ของแคนาดาซึ่งอยู่ภายใต้การปกครองของสหพันธ์มีตำแหน่งข้าหลวงแทน ซึ่งเป็นผู้แทนพระองค์โดยตรง
แคนาดาเป็นประเทศที่มีพระมหากษัตริย์สืบต่อมายาวนานที่สุดประเทศหนึ่งในโลก[19][27] โดยก่อตั้งเมื่อศตวรรษที่ 16[28][29][30] โดยผ่านการสืบสันตติวงศ์อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ราชวงศ์ฝรั่งเศสและราชวงศ์บริเตนใหญ่[31][32][33][34][35][36] จนมาถึงราชวงศ์แคนาดาจวบจนปัจจุบัน[39]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Department of Canadian Heritage. "Crown in Canada > Royal Family > His Royal Highness The Prince of Wales". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 20 ธันวาคม 2013. สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2013.
- ↑ David E. Smith (June 2010). "The Crown and the Constitution: Sustaining Democracy?" (PDF). Conference on the Crown. Ottawa: Queen's University. p. 6. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2016-10-08. สืบค้นเมื่อ 3 March 2016.
- ↑ Smith, David E. (1995). The Invisible Crown. Toronto: University of Toronto Press. pp. 87–90. ISBN 0-8020-7793-5.
- ↑ Government of Canada (2015). "Crown of Maples" (PDF). Queen's Printer for Canada. pp. 16–18. สืบค้นเมื่อ 3 March 2016.[ลิงก์เสีย]
- ↑ Department of Canadian Heritage (February 2009), Canadian Heritage Portfolio (2 ed.), Ottawa: Queen's Printer for Canada, p. 3, ISBN 978-1-100-11529-0, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2020-05-31, สืบค้นเมื่อ 5 July 2009
- ↑ [2][3][4][5]
- ↑ Victoria (1867), Constitution Act, 1867, III.15, Westminster: Queen's Printer (ตีพิมพ์ 29 March 1867), สืบค้นเมื่อ 15 January 2009
- ↑ MacLeod 2012, p. 17
- ↑ Department of Canadian Heritage 2009, p. 4
- ↑ [7][8][9]
- ↑ J.A. Weiler (13 August 2014). "McAteer v. Canada (Attorney General), 2014 ONCA 578". Court of Appeal for Ontario. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 10 February 2015. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
- ↑ Government of Canada (September 2009). "Discover Canada - Understanding the Oath". Citizenship and Immigration Canada. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
- ↑ "Parliamentary Framework - Role of the Crown". Parliament of Canada. October 2015. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2017-05-07. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
- ↑ Philippe Lagassé (2 March 2015). "Citizenship and the hollowed Canadian Crown". Institute for Research on Public Policy. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
- ↑ John Allen (1849). Inquiry into the rise and growth of the royal prerogative in England. Longman, Brown, Green, and Longmans. pp. 4–7. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
allen royal prerogative.
- ↑ Thomas Isaac (1994). "The Concept of Crown and Aboriginal Self-Government" (PDF). The Canadian Journal of Native Studies. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016.
- ↑ [13][14][15][16]
- ↑ Claude Bouchard (16 February 2016). "Jugement No. 200-17-018455-139" (PDF) (ภาษาฝรั่งเศส). Cour supérieure du Québec. p. 16. สืบค้นเมื่อ 17 February 2016 – โดยทาง Le Devoir.
- ↑ 19.0 19.1 Romaniuk, Scott Nicholas; Wasylciw, Joshua K. (February 2015). "Canada's Evolving Crown: From a British Crown to a "Crown of Maples"". American, British and Canadian Studies Journal. 23 (1): 108–125. doi:10.1515/abcsj-2014-0030.
- ↑ Department of Canadian Heritage (2015). "Crown of Maples: Constitutional Monarchy in Canada" (PDF). Her Majesty the Queen in Right of Canada. p. 3. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 10 พฤศจิกายน 2012. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ "Queen and Canada". The Royal Household. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-02-20. สืบค้นเมื่อ 16 February 2016.
- ↑ "The Queen of Canada". Government of Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 24 กุมภาพันธ์ 2016. สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2016.
- ↑ Hicks, Bruce (2012). "The Westminster Approach to Prorogation, Dissolution and Fixed Date Elections" (PDF). Canadian Parliamentary Review. 35 (2): 20.
- ↑ McLeod 2008, p. 36
- ↑ Government of Canada (4 December 2015). "Why does the Governor General give the Speech?". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 26 April 2018. สืบค้นเมื่อ 17 December 2015.
- ↑ [23][24][25]
- ↑ Jackson, Michael D. (2013), The Crown and Canadian Federalism, Dundurn Press, p. 55, ISBN 978-1-4597-0989-8, สืบค้นเมื่อ 6 June 2014
- ↑ Parsons, John (1 July 2008). "John Cabot". Historica Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-02-02. สืบค้นเมื่อ 20 January 2014.
- ↑ 29.0 29.1 Stephen Harper quoted in MacLeod 2008, p. vii
- ↑ Bousfield, Arthur; Toffoli, Garry. "The Sovereigns of Canada". Canadian Royal Heritage Trust. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 16 August 2007. สืบค้นเมื่อ 5 March 2010.
- ↑ "Why Canada Needs the Monarchy", The Canadian Encyclopedia, Historica Canada, สืบค้นเมื่อ 18 February 2015
- ↑ Department of Canadian Heritage. "Ceremonial and Canadian Symbols Promotion > The Canadian Monarchy". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-08-25. สืบค้นเมื่อ 14 May 2009.
- ↑ 33.0 33.1 Kenney, Jason (23 April 2007). "Speech to the Lieutenant Governors Meeting". Written at Regina. ใน Department of Canadian Heritage (บ.ก.). Speeches > The Honourable Jason Kenney. Ottawa: Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-06-11. สืบค้นเมื่อ 27 January 2010.
- ↑ 34.0 34.1 Valpy, Michael (13 November 2009). "The monarchy: Offshore, but built-in". The Globe and Mail. Toronto. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-06-01. สืบค้นเมื่อ 14 November 2009.
- ↑ MacLeod 2012, p. 6
- ↑ 36.0 36.1 Parliament of Canada. "Canada: A Constitutional Monarchy". Queen's Printer for Canada. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 May 2011. สืบค้นเมื่อ 25 September 2009.
- ↑ MacLeod 2012, pp. 2–3, 39
- ↑ Monet, Jacques (2007). "Crown and Country" (PDF). Canadian Monarchist News. Toronto: Monarchist League of Canada. Summer 2007 (26): 8. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 25 June 2008. สืบค้นเมื่อ 15 June 2009.
- ↑ [29][33][34][36][37][38]