ภาษาปู้เปียว
หน้าตา
ภาษาปู้เปียว | |
---|---|
Laqua | |
ภูมิภาค | จังหวัดห่าซาง ประเทศเวียดนาม และเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน มณฑลยูนนาน ประเทศจีน |
ชาติพันธุ์ | ชาวกวาเบียว |
จำนวนผู้พูด | 710 (2009 census)[1] |
ตระกูลภาษา | |
ระบบการเขียน | อักษรละติน (เวียดนาม) |
รหัสภาษา | |
ISO 639-3 | laq |
ภาษากวาเบียว (อังกฤษ: Qabiao) หรือภาษาละกัว ภาษาปูเปียว หรือภาษาเปน ติ โลโล อยู่ในตระกูลขร้า-ไท มีผู้พูดทั้งหมด 310 คน พบในเวียดนาม 307 คน (พ.ศ. 2545) ทางภาคเหนือ พูดโดยชาวกวาเบียวในจังหวัดห่าซาง ประเทศเวียดนามที่เหลือพบในเขตปกครองตนเองชนชาติจ้วงและม้ง เหวินซาน ในมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ซึ่งอยู่ใกล้ ๆ กัน ผู้พูดในจีนส่วนใหญ่มีอายุมาก และมักจะพูดภาษาจีนกลางได้ จัดอยู่ในตระกูลภาษาขร้า-ไท กลุ่มภาษาขร้า สาขายาง-เบียว รากศัพท์มีความคล้ายคลึงกับภาษาเกเลา ร้อยละ 38 ภาษาลาชิ ร้อยละ 33 ภาษาจ้วงเหนือ ร้อยละ 30 ภาษาฮลาย ร้อยละ 26 ภาษาลากา ร้อยละ 23 ภาษาม้ง ร้อยละ 10
อ้างอิง
[แก้]- ↑ ภาษาปู้เปียว ที่ Ethnologue (18th ed., 2015) (ต้องสมัครสมาชิก)
- Gordon, Raymond G., Jr. (ed.), 2005. Ethnologue: Languages of the World, Fifteenth edition. Dallas, Tex.: SIL International. Online version: http://www.ethnologue.com/.