ข้ามไปเนื้อหา

ลัทธิบูชาบุคคลเกาหลีเหนือ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
มหาอนุสาวรีย์มันซูแดในกรุงเปียงยาง ปี 2014 มีรูปปั้นคิม อิล-ซ็อง (ซ้าย) และคิม จ็อง-อิล (ขวา) โดยมีผู้มาเยือนสักการะ[1]

มีลัทธิบูชาบุคคลเกาหลีเหนือแวดล้อมตระกูลปกครอง คือ ตระกูลคิม[2] ในประเทศเกาหลีเหนือนานหลายทศวรรษและพบได้ในหลายตัวอย่างในวัฒนธรรมเกาหลีเหนือ[3] แม้รัฐบาลเกาหลีเหนือไม่ยอมรับ แต่ผู้แปรพักตร์หลายคนและนักท่องเที่ยวตะวันตกระบุว่ามักมีโทษเด็ดขาดต่อผู้วิจารณ์หรือไม่แสดงความเคารพ "อย่างเหมาะสม" ต่อรัฐบาล[4][5] ลัทธิบูชาบุคคลเริ่มขึ้นไม่นานหลังคิม อิล-ซ็องเถลิงอำนาจในปี 1948 ไม่นาน และมีการขยายอย่างมากหลังเขาเสียชีวิตในปี 1994

ลัทธิฯ ยังมีลักษณะความเข้มข้นของความรู้สึกของประชาชนต่อและการอุทิศต่อผู้นำของพวกตน[6]: 25  และบทบาทสำคัญที่อุดมการณ์ครอบครัวนิยม (familism) แบบขงจื๊อมีทั้งในการค้ำจุนลัทธิและหล่อเลี้ยงรัฐบาลเอง ลัทธิบูชาบุคคลเกาหลีเหนือเป็นส่วนใหญ่ของสังคมนิยมและระบบรวบอำนาจเบ็ดเสร็จเกาหลีเหนือ

อ้างอิง

[แก้]
  1. North Korea pays homage to the Kim dynasty, past, present (and future?) Justin McCurry. The Guardian. London. 17 December 2012. Accessed 18 August 2017.
  2. Lucy Williamson (December 27, 2011). "Delving into North Korea's mystical cult of personality". BBC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ February 2, 2013. สืบค้นเมื่อ January 9, 2013.
  3. Choe, Yong-ho., Lee, Peter H., and de Barry, Wm. Theodore., eds. Sources of Korean Tradition, Chichester, NY: Columbia University Press, p. 419, 2000.
  4. Ben Forer (January 12, 2012). "North Korea Reportedly Punishing Insincere Mourners". ABC News. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 14, 2012. สืบค้นเมื่อ January 9, 2013.
  5. "DPRK, Criminal Penalties". US State Dept. December 2, 2011. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 1, 2013. สืบค้นเมื่อ January 9, 2013.
  6. Hunter, Helen-Louise (1999). Kim Il-song's North Korea. Greenwood Publishing Group. p. 262. ISBN 9780275962968. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ January 11, 2014. สืบค้นเมื่อ August 31, 2013.