ไครซีน
หน้าตา
ชื่อ | |
---|---|
IUPAC name
Chrysene
| |
ชื่ออื่น
Benzo[a]phenanthrene
1,2-Benzphenanthrene | |
เลขทะเบียน | |
3D model (JSmol)
|
|
ChEBI | |
ChEMBL | |
เคมสไปเดอร์ | |
ECHA InfoCard | 100.005.386 |
EC Number |
|
KEGG | |
ผับเคม CID
|
|
RTECS number |
|
UNII | |
CompTox Dashboard (EPA)
|
|
| |
| |
คุณสมบัติ | |
C18H12 | |
มวลโมเลกุล | 228.28 |
ลักษณะทางกายภาพ | Orthorhombic bipyramidal plates |
ความหนาแน่น | 1.274 g/cm3 |
จุดหลอมเหลว | 254 องศาเซลเซียส (489 องศาฟาเรนไฮต์; 527 เคลวิน) |
จุดเดือด | 448 องศาเซลเซียส (838 องศาฟาเรนไฮต์; 721 เคลวิน) |
ไม่ละลาย | |
ความสามารถละลายได้ ใน เอทานอล | 1 mg/1300 mL |
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน | |
หากมิได้ระบุเป็นอื่น ข้อมูลข้างต้นนี้คือข้อมูลสาร ณ ภาวะมาตรฐานที่ 25 °C, 100 kPa
|
ไครซีน (Chrysene) เป็น โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน (PAH) ที่มีสูตรโครงสร้างเป็นC
18H
12เป็นองค์ประกอบทางธรรมชาติของถ่านหิน พบในครีโอซอตซึ่งเป็นสารเคมีที่ใช้รักษาเนื้อไม้ พบในปริมาณเล็กน้อยในการเผาไหม้ถ่านหิน น้ำมันดิบและชิ้นส่วนพืช
คำว่า ไครซีน "chrysene" มาจากภาษากรีกΧρύσoς (chrysos) หมายถึงทอง เพราะผลึกมีสีเหลืองคล้ายทอง แต่ถ้ามีความบริสุทธิ์สูงมากจะกลายเป็นไม่มีสี สีเหลืองที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากไอโซเมอร์ เตตระซีน ที่ปนอยู่ปริมาณเล็กน้อยและแยกออกได้ยาก
การใช้ประโยชน์
[แก้]ไครซีนใช้ในการผลิตสีย้อมบางชนิดในโรงงาน
ความปลอดภัย
[แก้]ไครซีนจัดเป็นสารก่อมะเร็งในมนุษย์ และสารมารถก่อมะเร็งในสัตว์ทดลองในห้องปฏิบัติการได้[2]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ Merck Index, 11th Edition, 2259.
- ↑ TOXICOLOGICAL PROFILE FOR POLYCYCLIC AROMATIC HYDROCARBONS