ภาษาบัลแกเรีย
ภาษาบัลแกเรีย | |
---|---|
български | |
ออกเสียง | bǎlgarski [ˈbɤɫɡɐrski] |
ประเทศที่มีการพูด | |
ชาติพันธุ์ | ชาวบัลแกเรีย |
จำนวนผู้พูด | 8 ล้านคน (ไม่พบวันที่)[4][ไม่แน่ใจ ] |
ตระกูลภาษา | อินโด-ยูโรเปียน
|
ภาษาถิ่น | |
ระบบการเขียน |
|
สถานภาพทางการ | |
ภาษาทางการ | |
ภาษาชนกลุ่มน้อยที่รับรองใน | |
ผู้วางระเบียบ | สถาบันภาษาบัลแกเรีย, BAS |
รหัสภาษา | |
ISO 639-1 | bg |
ISO 639-2 | bul |
ISO 639-3 | bul |
Linguasphere | 53-AAA-hb < 53-AAA-h |
บริเวณที่มีผู้พูดภาษาบัลแกเรีย:[ต้องการอ้างอิง] ภูมิภาคที่มีผู้พูดเป็นหมู่มาก ภูมิภาคที่มีผู้พูดเป็นชุมชนย่อย | |
ภาษาบัลแกเรีย (บัลแกเรีย: български, อักษรโรมัน: bălgarski, ออกเสียง: [ˈbɤɫɡɐrski] ) เป็นภาษากลุ่มอินโด-ยูโรเปียน โดยเป็นสมาชิกของแขนงใต้ของภาษากลุ่มสลาวิก ภาษานี้เป็นภาษาประจำชาติบัลแกเรีย และเป็นหนึ่งในภาษาราชการของสหภาพยุโรปตั้งแต่ ค.ศ 2007[8][9]
การกระจาย
[แก้]ภาษาบัลแกเรียเป็นภาษาราชการของประเทศบัลแกเรีย นอกจากนี้ยังพูดในประเทศแคนาดา ประเทศกรีซ ประเทศฮังการี ประเทศอิสราเอล ประเทศมอลโดวา ประเทศมาซิโดเนียเหนือ ประเทศโรมาเนีย ประเทศรัสเซีย ประเทศเซอร์เบีย ประเทศตุรกี ประเทศยูเครน สหราชอาณาจักร และสหรัฐ โดยมีคนพูดเป็นภาษาแม่ประมาณ 12 ล้านคน
นักภาษาศาสตร์บางคน รวมถึงนักภาษาศาสตร์ชาวบัลแกเรียและกรีกเกือบทุกคน เห็นว่าภาษามาซิโดเนียเป็นภาษาท้องถิ่นของภาษาบัลแกเรีย
А | Б | В | Г | Д | Е | Ж | З | И | Й | К | Л | М | Н | О | П | Р | С | Т | У | Ф | Х | Ц | Ч | Ш | Щ | Ъ | Ь | Ю | Я | |
а | б | в | г | д | е | ж | з | и | й | к | л | м | н | о | п | р | с | т | у | ф | х | ц | ч | ш | щ | ъ | ь | ю | я | |
สัทอักษรสากล: | [a], [ɐ] | [b] | [v] | [g] | [d] | [ɛ] | [ʒ] | [z] | [i] | [j] | [k] | [l] | [m] | [n] | [ɔ] | [p] | [r] | [s] | [t] | [u] | [f] | [x] | [t͡s] | [t͡ʃ] | [ʃ] | [ʃt] | [ə], [ɤ̞] | [◌ʲ] | [ju] | [ʝa] |
อักษรละติน: | a | b | v | g | d | e | zh | z | i | y | k | l | m | n | o | p | r | s | t | u | f | h | ts | ch | sh | sht | a | y | yu | ya |
ตัวอย่างข้อความ
[แก้]ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อที่ 1 ในภาษาบัลแกเรีย:
- Bсички хора се раждат свободни и равни по достойнство и права. Tе са надарени с разум и съвест и следва да се отнасят помежду си в дух на братство. [10]
ถอดรูปเป็นอักษรโรมัน:
- Vsichki hora se razhdat svobodni i ravni po dostoynstvo i prava. Te sa nadareni s razum i savest i sledva da se otnasyat pomezhdu si v duh na bratstvo.
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ข้อที่ 1 ในภาษาไทย:
- มนุษย์ทั้งหลายเกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในเกียรติศักดิ์และสิทธิ ต่างมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยเจตนารมณ์แห่งภราดรภาพ[11]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "Bulgarians in Albania". Omda.bg. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 4 May 2008. สืบค้นเมื่อ 23 April 2008.
- ↑ Loring M. Danforth, The Macedonian Conflict: Ethnic Nationalism in a Transnational World, 1995, Princeton University Press, p.65 , ISBN 0-691-04356-6
- ↑ Yugoslavism: histories of a failed idea, 1918–1992, Dejan Djokić, C. Hurst & Co. Publishers, 2003, ISBN 1-85065-663-0, p. 122.
- ↑ "Bulgarian".
- ↑ "Národnostní menšiny v České republice a jejich jazyky" [National Minorities in Czech Republic and Their Language] (PDF) (ภาษาเช็ก). Government of Czech Republic. p. 2.
Podle čl. 3 odst. 2 Statutu Rady je jejich počet 12 a jsou uživateli těchto menšinových jazyků: ..., srbština a ukrajinština
- ↑ "Implementation of the Charter in Hungary". Database for the European Charter for Regional or Minority Languages. Public Foundation for European Comparative Minority Research. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 27 February 2014. สืบค้นเมื่อ 16 June 2014.
- ↑ Frawley, William (2003). International Encyclopedia of Linguistics (ภาษาอังกฤษ). Oxford University Press, USA. p. 83. ISBN 978-0-19-513977-8.
- ↑ EUR-Lex (12 December 2006). "Council Regulation (EC) No 1791/2006 of 20 November 2006". Official Journal of the European Union. Europa web portal. สืบค้นเมื่อ 2 February 2007.
- ↑ "Languages in Europe – Official EU Languages". EUROPA web portal. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2 February 2009. สืบค้นเมื่อ 12 October 2009.
- ↑ "Universal Declaration of Human Rights". ohchr.org.
- ↑ "Universal Declaration of Human Rights". unicode.org. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2022-05-24. สืบค้นเมื่อ 2022-09-09.