ข้ามไปเนื้อหา

เคโรเจน

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

เคโรเจน เป็นส่วนผสมของสารอินทรีย์ ซึ่งพบในหินตะกอน [1] ตามปกติเคโรเจนจะไม่ละลายในตัวทำละลายอินทรีย์ เพราะมีมวลโมเลกุลสูงมาก (>1,000 Daltons) ส่วนที่ละลายได้เป็นที่รู้จักกันยางมะตอย เมื่อเคโรเจนได้รับความร้อนที่เหมาะสมจากเปลือกโลก เคโรเจนจะให้น้ำมันและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งรู้จักกันในนาม สารไฮโดรคาร์บอน (เชื้อเพลิงฟอสซิล) (น้ำมันที่อุณหภูมิ 60-160 °C ก๊าซธรรมชาติที่อุณหภูมิ 150-200 °C) ซึ่งไฮโดรคาร์บอนเหล่านั้น จะไปสะสมตัวในชั้นหินกักเก็บ (Reservoir Rock) ในกรณีนี้ชั้นหินตะกอนที่มีเคโรเจน จะเป็นชั้นหินต้นกำเนิด (Resource Rock) ในการกำเนิดปิโตรเลียม

ชื่อ "เคโรเจน" (Kerogen)ถูกเสนอโดย Alexander Crum Brown นักเคมีอินทรีย์ชาวสก็อต ในปี ค.ศ. 1912 [2][3]

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Oilfield Glossary". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-06-03. สืบค้นเมื่อ 2012-11-11.
  2. Teh Fu Yen; Chilingar, George V. (1976). Oil Shale. Amsterdam: Elsevier. p. 27. ISBN 978-0-444-41408-3. สืบค้นเมื่อ 31 May 2009.
  3. Hutton, Adrian C.; Bharati, Sunil; Robl, Thomas (1994). "Chemical and Petrographic Classification of Kerogen/Macerals". Energy Fuels. Elsevier Science. 8 (6): 1478–1488. doi:10.1021/ef00048a038.

ดูเพิ่ม

[แก้]